ความรู้เกี่ยวกับสิวข้าวสาร

สิวข้าวสาร (Milium Cysts) คือก้อนชีสต์ขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นสีขาวหรือสีเหลือง โดยมีสาเหตุมาจากเซลล์ผิวที่ตายแล้วหรือเคราติน (Keratin) ที่สะสมไว้ใต้ผิวหนัง จึงทำให้ปรากฎออกมาเป็นลักษณะตุ่มนูน ๆ มักพบบริเวณใบหน้า เปลือกตาและใต้ตา

เครดิตฟรี

คำจำกัดความ
สิวข้าวสาร (Milium Cysts) คืออะไร
สิวข้าวสาร (Milium Cysts) คือ ก้อนชีสต์ขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นสีขาวหรือสีเหลือง โดยมีสาเหตุมาจากเซลล์ผิวที่ตายแล้วหรือเคราติน (Keratin) ที่สะสมไว้ใต้ผิวหนัง จึงทำให้ปรากฎออกมาเป็นลักษณะตุ่มนูน ๆ มักพบบริเวณใบหน้า เปลือกตาและใต้ตา

พบได้บ่อยเพียงใด
สิวข้าวสารสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แต่มักพบในเด็กทารก

อาการ
อาการของสิวข้าวสาร (Milium Cysts)
สิวข้าวสารมีลักษณะเป็นตุ่มสีขาวหรือเหลือง ขึ้นเป็นกระจุก มักพบบริเวณ ใบหน้าริมฝีปาก เปลือกตา แก้ม ตามลำตัว และอวัยวะเพศ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสิวข้าวสารจะไม่มีอาการคันหรือรู้สึกเจ็บปวด แต่อาจทำให้เรารู้สึกระคายเคืองเล็กน้อย

ควรไปพบหมอเมื่อใด
หากคุณมีสิ่งบ่งชี้หรืออาการใด ๆ ตามที่ระบุข้างต้น หรือมีคำถาม โปรดปรึกษาแพทย์ ร่างกายของแต่ละบุคคลมีการตอบสนองแตกต่างกัน ทางที่ดีที่สุดให้ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับวิธีรักษาที่ดีที่สุดตามสถานการณ์ของคุณ

สล็อต

สาเหตุ
สาเหตุของสิวข้าวสาร (Milium Cysts)
สิวข้าวสารเกิดขึ้นเมื่อเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วหรือเคราติน (โปรตีนที่พบในผิวหนังและเส้นผม) สะสมอยู่ภายใต้ผิว จึงทำให้ปรากฎออกมาเป็นลักษณะตุ่มนูน ๆ

ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของสิวข้าวสารในทารกแรกเกิด หลายคนมักเข้าใจผิดคิดว่าเป็นสิวในทารก แต่แท้จริงแล้วเป็นเพียงภาวะที่ถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนและทำให้เกิดการอักเสบ

ปัจจัยเสี่ยงของสิวข้าวสาร (Milium Cysts)
ผิวโดนแสงแดดเป็นเวลานาน
โรคทางผิวหนัง
การบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่วยทางผิวหนัง
การใช้ครีมสเตียรอยด์เป็นระยะเวลานานติดต่อกัน
ความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ส่งผลกระทบต่อผิวหนัง
การวินิจฉัยและการรักษา
ข้อมูลในที่นี้ไม่มีเจตนาให้ใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

สล็อตออนไลน์

การวินิจฉัยสิวข้าวสาร (Milium Cysts)
ในเบื้องต้นแพทย์จะสอบถามประวัติอาการและตรวจสอบดูความผิดปกติของผิวหนัง ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจนำชิ้นเนื้อไปตรวจ

การรักษาสิวข้าวสาร (Milium Cysts)
สิวข้าวสารมักหายได้เอง โดยไม่ต้องรับการรักษา โดยเฉพาะในทารกแรกเกิดมักหายได้เองภายใน 1 สัปดาห์ และในวัยผู้ใหญ่มักหายไปใน 2-3 สัปดาห์ ในผู้ป่วยบางรายสิวข้าวสารอาจอยู่หลายเดือนหรือนานกว่านั้น หากรู้สึกไม่สบายตัว แพทย์อาจกำจัดสิวข้าวสารออก ด้วยวิธีดังต่อไปนี้

การใช้สารเคมีลอกออก
การบำบัดด้วยความเย็น โดยการใช้ไนโตรเจนเหลวทำให้สิวข้าวสารแข็งตัว
การบำบัดด้วยความร้อน
เข็มที่ผ่านการฆ่าเชื้อเจาะ เพื่อเปิดตุ่มสิวข้าวสาร
การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเองเพื่อบรรเทาอาการสิวข้าวสาร มีดังต่อไปนี้

jumboslot

หลีกเลี่ยงเจาะหรือจิ้มสิวข้าวสารออกด้วยตนเอง เพราะอาจทำให้เกิดการตกสะเก็ดและมีแผลเป็นได้
รักษาสุขอนามัยทำความสะอาดล้างด้วยสบู่ที่อ่อนโยน (ปราศจากสารพาราเบน) เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวเสียดสีหรือแห้ง
ขัดผิวบริเวณนั้นรอบ ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เคราตินในผิวผลิตออกมามากเกินไป
ครีมกันแดดเนื้อบางเบา การใช้ครีมกันแดดที่เหมาะสมอาจช่วยลดการระคายเคืองของผิวหนังที่ทำให้เกิดสิวข้าวสารได้

การที่ใบหน้าของเรามีตุ่มสีขาวขึ้นเป็นจุดเล็ก ๆ บางทีเราก็อาจคิดไปได้ว่าตุ่มนั้น คือ สิวโดยทั่วไป ที่เมื่อไปรักษาเมื่อไหร่ก็หายได้ในทันที แต่แท้จริงแล้วอาจอีกสาเหตุหนึ่งที่ทุกคนคาดไม่ถึงนั่นก็คือ การเกิดก้อนซีสต์ที่ชื่อว่า มิเลีย (Milia) หรือถ้าเรียกในชื่อที่รู้จักโดยทั่วไปนั่นก็คือ สิวหิน หรือ สิวข้าวสาร ที่ทาง Hello คุณหมอ จะขอพาทุกคนไปรู้จักกับสิวประเภทนี้ให้มากขึ้นกันในบทความนี้ค่ะ

สิวหิน หรือ มิเลีย เป็นอย่างไร
มิเลีย (Milia) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า สิวหิน หรือ สิวข้าวสาร คือก้อนซีสต์ขนาดเล็กที่อยู่ภายใต้ผิวหนัง มีลักษณะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มิลลิเมตร และยังพบได้มากที่สุดในเด็กทารกแรกเกิด แต่ขณะเดียวกันก็อาจสามารถเกิดขึ้นได้กับผู้ใหญ่ในบางคนโดยเฉพาะช่วงบริเวณ จมูก ดวงตา แก้ม และหน้าผากของคุณได้

สาเหตุที่ทำให้เกิดมิเลียขึ้นมานั้น เป็นไปได้ว่าอาจมาจากการสะสมของเคราติน (Keratin) หรือโปรตีนของชั้นผิวหนังที่ถูกสะสมไว้ จึงทำให้ปรากฏออกมาเป็นลักษณะตุ่มนูนสีขาวอยู่บนผิวหน้า อีกทั้งยังอาจเป็นผลมาจากการที่คุณใช้ครีมสเตรียรอยด์ และถูกแสงแดดในระยะยาวที่มากเกินไปได้อีกด้วย

ประเภทของ มิเลีย
มิเลีย ในเด็กแรกเกิด (Neonatal milia)
ถือเป็นมิเลียที่สามารถพัฒนาในทารกแรกเกิด และอาจหายไปได้เองเมื่อพวกเขาโตขึ้น หรือประมาณ 2-4 สัปดาห์หลังคลอด โดยส่วนใหญ่มักจะเห็นก้อนซีสต์นี้ได้ที่ใบหน้า หนังศีรษะ และลำตัวส่วนบน จากข้อมูลดังกล่าวของโรงพยาบาลเด็กทารกแรกเกิดส่วนใหญ่สามารถประสบได้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์

slot

มิเลียในเด็กและผู้ใหญ่ (Primary milia)
ถึงแม้อาการนี้อาจหายไปได้เอง แต่ขณะเดียวกันก็สามารถปรากฏบนใบหน้าของเราได้เป็นเวลาหลายเดือน โดยมักพบได้ตามทั่วทั้งบริเวณเปลือกตา แก้ม หน้าปาก และอวัยวะเพศ

มิเลียทางพันธุกรรม (Milia en plaque)
ภาวะนี้ค่อนข้างมีความเกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางพันธุกรรม หรือภูมิต้านทาน เช่น โรคลูปัสดิสรอยด์ (Discoid lupus) ที่ปรากฏอยู่ตามเปลือกตา หู แก้ม รวมไปถึงสันกราม และอาจมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหลายเซนติเมตรด้วยกัน

มิเลียชนิดคันระคายเคือง (Multiple eruptive milia)

เป็น มิเลีย ที่อาจสามารถสร้างอาการคันระคายเคืองแก่ผิวหนังของคุณได้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนของใบหน้า แขน ลำตัว อีกทั้งยังมักปรากฏในช่วงบริเวณเดียวกัน เป็นเวลาหลายสัปดาห์

วิธีรักษาทางการแพทย์
ในกรณที่เกิดขึ้นกับเด็กทารกแรกเกิด อาจไม่สามารถมีการรักษาได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพราะโดยปกติแล้วเมื่อพวกเขาเติบโตขึ้นก้อนซีสต์เหล่านี้จะค่อย ๆ จางหายไปได้เองตามกาลเวลา แต่หากสำหรับในเด็ก และผู้ใหญ่แล้วนั้น คุณอาจเข้าขอรับการรักษาจากแพทย์เฉพาะทางด้านผิวหนังได้ ดังนี้

การบำบัดด้วยความเย็น หรือไนโตรเจนเหลว
ทาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของวิตามินเอ เพื่อผลัดเซลล์ผิว
การลอกผิวด้วยสารเคมีบางชนิด เพื่อให้ผิวหนังใหม่เผยออกมา
เลเซอร์เพื่อเอาก้อนมิเลียออก
ที่สำคัญวิธีดังกล่าวนี้ควรให้ผู้เชี่ยวชาญได้รักษาคุณโดยตรงเท่านั้น ไม่ควรปฏิบัติเองอย่างเด็ดขาด และโปรดหมั่นทำความสะอาดผิวหน้าให้สะอาดอยู่เสมอด้วยผลิตภัณฑ์ที่ให้ความอ่อนโยน พร้อมปกป้องผิวหน้าด้วยครีมกันแดดอย่างเป็นประจำต่อเนื่อง เพื่อลดการระคายเคืองของสิวประเภทนี้ที่เผชิญกับแสงแดดโดยตรง